e/ja/指桑罵槐

New Query

Information
instance ofc/th/กลศึกสามก๊ก
Meaning
Japanese
has glossjpn: 指桑罵槐(しそうばかい)とは,中国の兵法書「三十六計」の計略の一つである。三十六計中の二十二計にあたり、味方に対して行う計略だとされている。書き下して「桑を指して槐(エンジュ)を罵る」ともいう。 意味 桑の木をさして槐(エンジュ)の木を罵る、と言う意味で、「三十六計」には、「強者が弱者を屈服させるときに警告する方法」とされている。すなわち本当に注意したい相手を直接名指して注意するのではなく、別の相手を批判することで、間接的に人の心をコントロールしようという作戦だと、湯浅邦弘は著書『孫子・三十六計』(角川ソフィア文庫)で解釈している。 敷衍 評論家の岡田英弘が「指桑罵槐こそは中国人の行動原理である」と主張しており、「ある相手を攻撃するように見せて別の相手を攻撃する手段」だと解釈して中国の政治の動きをこの言葉で説明し、2004年前後中国本土で反日運動が激化したが、これは日本を攻撃しているふりをして実は中国政府に対する非難や不満を表明していた、と言う解釈の際にこの言葉がよく用いられた。
lexicalizationjpn: 指桑罵槐
Thai
has glosstha: กลยุทธ์ชี้ต้นหม่อนด่าต้นไหว หรือ จวื่อซ่างม่าไหว (; ) เป็นกลยุทธ์ที่มีความหมายถึงเมื่อฝ่ายที่มีความเข้มแข็งมากกว่า หรือแคว้นที่มีกองกำลังทหารภายใต้สังกัดมากมาย ข่มเหงรังแกแคว้นเล็กหรือผู้ที่มีกำลังทหารน้อยกว่า ควรที่จะใช้วิธีการตักเตือนให้เกิดความเกรงกลัวและยำเกรง แม้นหากแสดงความเข้มแข็งให้ได้ประจักษ์ ก็จักได้รับความสนับสนุนจากผู้ที่อ่อนแอกว่า ถ้าหาญกล้าใช้ความรุนแรง ก็จักได้รับความยอมรับนับถือจากผู้ที่อ่อนแอกว่า คัมภีร์อี้จิงกล่าวว่า "แกร่งจึงต้อนรับ เสี่ยงจึงยอมสยบ นี่ถือหนทางปกครองแผ่นดินราษฏรจึงขึ้นต่อ" ตัวอย่างการนำเอากลยุทธ์ชี้ต้นหม่อนด่าต้นไหวไปใช้ได้แก่สุมาอี้ที่บุกเข้าควบคุมตัวของครอบครัวโจซองภายหลังจากที่ลิดรอนอำนาจของสุมาอี้เพียงเพื่อหวังในตำแหน่งอุปราช
lexicalizationtha: กลยุทธ์ชี้ต้นหม่อนด่าต้นไหว
Chinese
has glosszho: 「指桑罵槐」是兵法三十六計的第廿六計。
lexicalizationzho: 指桑罵槐

Query

Word: (case sensitive)
Language: (ISO 639-3 code, e.g. "eng" for English)


Lexvo © 2008-2024 Gerard de Melo.   Contact   Legal Information / Imprint